การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์วิจัย ครั้งที่ 16
(16th Science Research Conference)

"รวมพลังวิทยาศาสตร์ ในยุคภูมิอากาศสุดขั้ว"
วันที่ 27-28 กุมภาพันธ์ 2568 ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

*เนื่องจากการลงทะเบียนมี 2 ระบบ ผู้ที่ลงทะเบียนส่งผลงานแล้ว จำเป็นต้องมาลงทะเบียนเข้าร่วมงานด้วย

Important Date

5 ต.ค. 67 - 15 ม.ค. 68

ลงทะเบียนเข้าร่วมงาน
ชำระค่าลงทะเบียน

16 ธ.ค. 67

วันสุดท้ายในการส่งบทคัดย่อ และส่ง Manuscript (ในกรณีต้องการตีพิมพ์ Proceeding)

15 ม.ค. 68

วันสุดท้ายของการส่งบทคัดย่อและบทความที่แก้ไขแล้ว (ยึดตามผู้ทรงคุณวุฒิกำหนดเป็นหลัก)

15 ม.ค. 68

นักวิจัยได้รับเอกสารตอบรับการนำเสนอผลงานอย่างเป็นทางการ

15 ม.ค. 68

วันสุดท้ายชำระค่าลงทะเบียนอัตราพิเศษ (Early bird)

27-28 ก.พ. 68

งานประชุมวิชาการ “วิทยาศาสตร์วิจัย” ครั้งที่ 16

กลุ่มนำเสนอ

1) วิทยาศาสตร์ชีวภาพและสิ่งแวดล้อม
2) วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีชีวภาพ และชีวเคมี
3) วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางอาหาร และจุลชีววิทยา
4) เคมี เคมีประยุกต์ และเคมีอุตสาหกรรม
5) คณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์ประยุกต์ และสถิติ
6) คณิตศาสตร์ศึกษาและวิทยาศาสตร์ศึกษา
7) คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
8) ฟิสิกส์ พลังงาน วัสดุศาสตร์ และดาราศาสตร์
9) วิทยาศาสตร์นวัตกรรมเชิงพาณิชย์ (R2M)
10) การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย (R2R)

รูปแบบการนำเสนอ

1) Oral Presentation
2) Poster Presentation

อัตราค่าลงทะเบียน

  ภายในวันที่ 15 ม.ค.68 ระหว่างวันที่ 16 ม.ค. - 27 ก.พ. 68
1) นักเรียน / นิสิต นักศึกษา 1,500 บาท 1,700 บาท
2) บุคคลทั่วไป / อาจารย์ 1,800 บาท 2,000 บาท


รูปแบบการตีพิมพ์

ช่องทางที่ 1 ตีพิมพ์เฉพาะบทคัดย่อ ในเล่มเอกสารรวมบทคัดย่อ (Abstract Book)
ช่องทางที่ 2 ตีพิมพ์บทความวิจัยเรื่องเต็มในการประชุมวิชาการ (Proceeding)
ช่องทางที่ 3 ตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการ

รายละเอียดการส่งผลงาน

Keynote Speakers

ดร.อัศมน ลิ่มสกุล

ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม

หัวข้อ : วิทยาศาสตร์การวิจัยด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของไทย ความก้าวหน้า ทิศทาง และอนาคต

ดร.พิจิตต รัตตกุล

ประธานเครือข่ายพัฒนาความเข้มแข็งต่อภัยพิบัติไทย (Thai Network for Disaster Resilience)

หัวข้อ : รวมพลังข้ามศาสตร์ในยุคภูมิอากาศสุดขั้ว

Ms. Daria Mokhnacheva

Programme Management Officer, UNDRR

Invited Speakers

รศ.ดร.ธีรวงศ์ เหล่าสุวรรณ

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

หัวข้อ : Net Zero ก๊าซเรือนกระจกเป็นศูนย์ นโยบายด้านสิ่งแวดล้อมโลก เพื่อแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

อ.ดร.พิมประภา ชัยจักร

คณะวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมดิจิทัล มหาวิทยาลัยทักษิณ

หัวข้อ : การบำบัดน้ำเสียและผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยเทคโนโลยีเซลล์เชื้อเพลิงจุลินทรีย์

ผศ.ดร.ภูมิน นุตรทัต

คณะวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมดิจิทัล มหาวิทยาลัยทักษิณ

หัวข้อ : ยีสต์และเห็ดป่าชนิดใหม่ในจังหวัดพัทลุงและการศึกษาแนวทางการใช้ประโยชน์

ผศ.ดร.ธีรนันท์ นงค์นวล

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

หัวข้อ : การเพิ่มความละเอียดในการพิมพ์สามมิติระบบหมึกพิมพ์เรซิ่นและการพัฒนาแม่พิมพ์อาหารเชิงพาณิชย์

รศ.ดร.ประสิทธิ์ ช่อลำเจียก

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา

หัวข้อ : A New Splitting Algorithm for Convex Optimization Problems and Applications

ผศ.ดร.ขวัญ เพียซ้าย

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

หัวข้อ : โครงงานคณิตศาสตร์สำหรับครู

ผศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เตมีย์

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

หัวข้อ : The Role of Model Aggreation Techniques in Federated Learning (บทบาทของเทคนิคการรวมโมเดลในระบบการเรียนรู้แบบกระจายศูนย์)

อ.ดร.ฐิติรัตน์ จรุญสุข

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

หัวข้อ : THE CHITOSAN-BASED COMPOSITE FOR TRIBOELECTRIC NANOGENERATOR: PREPARATION, CHARACTERIZATION AND MECHANISTIC INSIGHT

รศ.ดร.รชนิมุข หิรัญสัจจาเลิศ

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

หัวข้อ : เส้นทางสู่นวัตวณิชย์ของทรัพยากรทางทะเล

นางภัทรภรณ์ ผลดี

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา

หัวข้อ : เทคนิคการแปลงงานประจำเป็นงานวิจัย (R2R) ที่ทุกคนทำได้

Sponsers